บทบาท และหน้าที่พระธรรมทูตไทยในต่างแดน

งานพระธรรมทูต*

(Buddhist Missionary Works)

จรถ ภิกฺขเว จาริกํ พหุชนหิตาย พหุชนสุขาย โลกานุกมฺปาย อตฺถาย หิตาย สุขาย เทวมนุสฺสานํ..ฯเปฯ

“ภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจงจาริกไป เพื่อประโยชน์แก่ชนหมู่มากโดยอาศัยความอนุเคราะห์ชาวโลก

เพื่อประโยชน์ เพื่อความเกื้อกูล และเพื่อความสุขของเทพยดาและมนุษย์ทั้งหลาย..”

The Pilgrimage Tour and Seminar on Buddhism in India

The Pilgrimage Tour and Seminar on Buddhism in India-Nepal
February 24 to March 5, 2011

February 24, 2011 Bangkok-Bodhgaya
6:00 a.m. Check in at the counter of Air India (AI 333), depart at 8.55am. for Delhi International Airport.

Published
Categorized as t-books

รายการสัมมนาพระธรรมทูตโลกที่ประเทศอินเดีย

จาริกธรรมสัมมนาพระธรรมทูตไทยสายต่างประเทศทั่วโลก

และธรรมยาตราแดนพุทธภูมิ ณ ประเทศอินเดีย-เนปาล

ระหว่างวันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์-๕ มีนาคม ๒๕๕๔

Published
Categorized as t-books

TV. Wat Thai,D.C. & Clip VDO

เชิญรับชม-รับฟังรายการวิทยุ-โทรทัศน์ ทางอินเตอร์เน็ต ของวัดในสังกัดสมัชชาสงฆ์ไทยฯ clip VDO pilgrimage tour around the world by Dr. Handy Inthisan

ความเป็นมาของพระไตรปิฎก

ความเป็นมาในการสร้างพระไตรปิฏก
โดย ดร.พระมหาถนัด อตฺถจารี

จำเดิมแต่การปรินิพพานขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ ๓ เดือน ได้มีการประชุมกันของพระอรหันต์ ๕๐๐ องค์ ซึ่งมีวัตถุประสงค์

Published
Categorized as t-books

ธรรมะ เพื่อชีวิตที่สมบูรณ์

คติธรรมน่าคิด…น่าอ่านด้วย
เรื่องภายในย่อมสำคัญกว่าเรื่องภายนอกตน
คนที่รู้เพียงเปลือกนอกย่อมสู้คนที่รู้ถึงแก่นไม่ได้

Published
Categorized as t-books

รายงานการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยฯ สมัยวิสามัญ ครั้งที่ ๑๙/๒๕๕๓

คำกล่าวรายงาน

พิธีเปิดการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา สมัยวิสามัญ ครั้งที่ ๑๙/๒๕๕๓

ณ วัดวชิรธรรมปทีป ลองไอส์แลนด์ มหานครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา

Published
Categorized as t-books

ทศพิธราชธรรม คือ ธรรมสำหรับพระราชาที่ดี

ทศพิธราชธรรมนี้ ถือว่าเป็นคุณธรรมที่โบราณกบัณฑิตได้บัญญัติไว้ก่อนสมัยพุทธกาล ซึ่งพระราชามหากษัตริย์ในอดีตได้ทรงถือปฏิบัติมาเป็นพระราชจริยาวัตร

Published
Categorized as t-books

ทศพิธราชธรรม คือ ธรรมแห่งความเป็นพระราชา

ทศพิธราชธรรมนี้ ถือว่าเป็นคุณธรรมที่โบราณกบัณฑิตได้บัญญัติไว้ก่อนสมัยพุทธกาล ซึ่งพระราชามหากษัตริย์ในอดีตได้ทรงถือปฏิบัติมาเป็นพระราชจริยาวัตร แม้บุคคลผู้มิใช่พระเจ้าแผ่นดินก็ควรเจริญรอยตามโดยนำเอาหลักธรรม ๑๐ ประการนี้ มาปฏิบัติในการปกครอง เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมในสังคมตามอุดมการณ์แห่งการปกครองยิ่ง ๆ ขึ้นไป